o 8Q
แบบประเมินการฆ่าตัวตาย ใช้ประเมินร่วมกับแบบประเมินโรคซึมเศร้า 9 คำถาม
ลำดับคำถาม
|
คำถาม (ถามใน 1 เดือนที่ผ่านมา)
|
ไม่ใช่
|
ใช่
|
1
|
คิดอยากตาย หรือ คิดว่าตายไปจะดีกว่า
|
0
|
1
|
2
|
อยากทำร้ายตัวเอง หรือ ทำให้ตัวเองบาดเจ็บ
|
0
|
2
|
3
|
คิดเกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย
|
0
|
6
|
ท่านสามารถควบคุมความอยากฆ่าตัวตายที่ท่านคิดอยู่นั้นได้หรือไม่
หรือ บอกได้ไหมว่าคงจะไม่ทำตามความคิดนั้นในขณะนี้
|
ได้
0
|
ไม่ได้
8
|
|
4
|
มีแผนการที่จะฆ่าตัวตาย
|
0
|
8
|
5
|
ได้เตรียมการที่จะทำร้ายตนเองหรือเตรียมการจะฆ่าตัวตายโดยตั้งใจว่าจะให้ตายจริงๆ
|
0
|
9
|
6
|
ได้ทำให้ตนเองบาดเจ็บแต่ไม่ตั้งใจที่จะทำให้เสียชีวิต
|
0
|
4
|
7
|
ได้พยายามฆ่าตัวตาย โดยคาดหวัง/ตั้งใจที่จะให้ตาย
|
0
|
10
|
8
|
ท่านเคยพยายามฆ่าตัวตาย
|
0
|
4
|
การแปรผลและการจัดการในโครงการเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าตามคะแนนที่ได้จากการประเมินการฆ่าตัวตาย
คะแนนรวม
|
แนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายในปัจจุบัน
|
การจัดการ
|
1-8
|
น้อย
|
ควรปรึกษาหรือส่งต่อผู้ชำนาญด้านให้การปรึกษาหรือผู้ทำงานด้านสุขภาพจิตเพื่อให้การช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ
และประเมินความเจ็บป่วยทางจิตใจ (ควรนัดติดตามเฝ้าระวัง)
ถ้ามีโรคซึมเศร้าให้ดูแลตามแนวทาง
|
9-16
|
ปานกลาง
|
1.
ควรมีญาติดูแลอย่างใกล้ชิดและแนะนำญาติให้เข้าใจวิธีการช่วยเหลือเฝ้าระวังที่ถูกต้อง
(ถ้าไม่มีญาติ ควรรับไว้รักษาในโรงพยาบาล)
2.
ประเมินโรคจิตเวช
หากมีโรคซึมเศร้าให้ดูแลรักษาตามแนวทาง
3.
ให้การช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ
ช่วยแก้ไขปัญหาทุกข์ใจที่เร่งด่วน
4.
นัดติดตามทุกสัปดาห์เพื่อให้การช่วยเหลือทางสังคมจิตใจต่อเนื่อง
|
≥17
|
สูง
|
1.
ควรรักษาในโรงพยาบาลและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดตลอด
24 ชั่วโมง
2.
ให้การช่วยเหลือทางสังคมจิตใจ
ช่วยแก้ไขปัญหาทุกข์ใจที่เร่งด่วน
3.
กรณีที่มีโรคซึมเศร้า
ประเมินด้วย 9 คำถาม ได้คะแนน ≥13 ให้ส่งต่อโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ทันที
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น