คิดเหมือนดูแล“ผู้ป่วยอีกคนหนึ่ง” เพราะมีผลกระทบซึ่งกันและกันกับผู้ป่วยเสมอ(ตัวย่อ CAREGIVER)
Care
|
ถามเรื่องการดูแลผู้ป่วยว่าต้องทำอะไรบ้าง
ประเมินความสามารถในการดูแล อาจถามว่า“ตั้งแต่ 6โมงเช้าวันนี้จนถึงอีกวัน ต้องทำอะไรบ้าง”
|
Affection
|
ประเมินสภาพอารมณ์ ( โกรธ น้อยใจ เศร้า ฯ) ความเหนื่อย
|
Rest
|
การได้พักผ่อน ถ้าไม่ได้พัก
ควรกระตุ้นให้ได้พัก หาเวลาส่วนตัวบ้าง
|
Empathy
|
สะท้อนอารมณ์ของผู้ดูแล แสดงความเห็นอกเห็นใจผู้ดูแลเมื่อมีโอกาส
|
Goal of care
|
ถามเป้าหมายการดูแลอยากให้เป็นอย่างไร
ให้ตั้งเป้าหมายที่เป็นจริงร่วมกัน บอกประโยชน์และโทษของการรักษาแบบต่างๆ
|
Information
|
ให้ความรู้เรื่องโรค
การพยากรณ์และการรักษา เทคนิคที่ช่วยให้ดูแลง่ายขึ้น
*หากมี caregiver
burden หรือ อารมณ์ท้อแท้ เบื่อหน่ายอยู่ ไม่ควรรีบให้ข้อนี้มาก
|
Ventilation
|
รับฟังผู้ดูแลและ
แนะนำให้หาผู้ที่สามารถพูดระบายความรู้สึกได้
|
Empowerment
|
ชื่นชมและให้กำลังใจในสิ่งที่ caregiver ทำได้ดี
|
Resources
|
หาผู้ช่วยเหลือด้านต่างๆที่จำเป็น
เช่น ผู้มาช่วยสับเปลี่ยนดูแล
หรือการพาผู้ป่วยไปอยู่สถานพยาบาลชั่วคราวเป็นช่วงสั้นๆ (respite care)เพื่อให้ผู้ดูแลพักได้บ้าง
|
“ภาวะ Caregiver burden” คือภาวะที่caregiver เกิดความเหนื่อยล้าในการดูแล โดยมี สัญญาณบอก คือ :
หลักการจัดการสำคัญต้องกระตุ้นหรือจัดสรรให้ caregiver ได้ rest มีเวลาส่วนตัวบ้าง,respite
care ก่อนที่จะ burn out <Caregiver burnout= caregiver
ล้าเกินกำลังและไม่สามารถดูแลได้อีกต่อไป (อาจทำให้ผู้ป่วยถูกทอดทิ้ง
ผู้ดูแลรู้สึกผิด)>
แนวทางการแก้ไขปัญหาความเครียดของผู้ดูแล
·
จัดตารางให้ตนเองมีเวลาพักผ่อนบ้าง
เช่น หาบุคคลอื่นมารับผิดชอบเป็นครั้งคราว
·
หาผู้ที่ตนเองสามารถพูดระบายความรู้สึกออกมาและกล้าที่จะบอกและแสดงความต้องการของตนเอง
·
มีกิจกรรมนอกบ้านหรือกิจกรรมผ่อนคลายความเครียดบ้าง
·
เมื่อได้ปฏิบัติดังกล่าวขั้นต้นแล้วญาติยังรู้สึกว่าตนมีความเครียด
แพทย์ที่ดูแลควรแนะนำให้หยุดพักสักระยะหนึ่ง
หากว่ายังไม่สามารถเผชิญกับความเครียดได้อีกอาจต้องปรึกษาจิตแพทย์
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น