Tip ในการรักษา pain
in palliative care
1.ประเมินผู้ป่วยแต่ละรายทุกราย
และต้องเชื่อว่าผู้ป่วยปวดจริง
2.ความปวดเป็นสิ่งที่ต้องรักษา
เริ่มรักษาเร็วแต่เนิ่นๆ
อย่าปล่อยให้ผู้ป่วยทนปวดจนทนไม่ไหว เพราะความปวดที่สะสมมากๆจะควบคุมหรือบรรเทาได้ยากกว่า
3.ให้ความเชื่อมั่นแก่ผู้ป่วยและครอบครัวว่า
ความปวดส่วนใหญ่นั้น บรรเทาได้
|
การแบ่งชนิดความปวดทางกาย( physical
pain)และประเภทยาหลักที่รักษา มี 2แบบ ต้องแยกให้ได้ว่าปวดเป็นประเภทไหน เพราะใช้ยาต่างกัน
Pain
Type
|
ยาหลักที่ใช้
|
1.Nociceptive pain เกิดจากการกระตุ้นผ่าน
nocicepter (การบาดเจ็บ กดเบียด การอักเสบของเนื้อเยื่อ)
มี 2 ประเภทย่อย มักปวดต่อเนื่อง(constant)
|
|
1.1somatic pain
ความปวดจากโครงสร้างของร่างกายที่ไม่ใช่อวัยวะภายใน -ปวดตื้อๆ(dull
aching), ปวดเหมือนถูกแทง(stabbing) ปวดตุ๊บๆ
(throbbing) หรือปวดแน่นหรือตึง (pressure) ---มัก localize ตำแหน่งและขอบเขตได้ชัดเจน, เคลื่อนไหวแล้วปวดมากขึ้น
เช่น ความปวดที่เกิดจากมะเร็งบริเวณผิวหนัง และ bone pain
|
-ให้ยาแก้ปวดรับประทานเป็นอันดับแรก
-ตาม WHO
analgesic ladder
มักเป็นopioid
(ถ้าbone painใช้ NSAID)
- รักษาสาเหตุที่ทำให้ปวด
เช่น แผลอักเสบติดเชื้อ เป็นต้น
|
1.2Visceral pain ความปวดจากมะเร็งของอวัยวะภายในทุกชนิด
ปวดบีบเป็นพักๆ มัก localize
ตำแหน่งได้ไม่ชัดเจน ปวดเหมือนถูกบีบรัด (cramping) อาจมีreferred pain เช่น pain จาก liver มีปวดร้าวไปที่สะบักขวา
เคลื่อนไหวแล้วเจ็บไม่มากขึ้น
|
|
2.Neuropathic pain เกิดจากการบาดเจ็บของระบบประสาทส่วนกลาง ปวดได้หลายแบบ อาจเป็นพักๆ ไม่แน่นอน (periodic) รักษาค่อนข้างยาก
ตอบสนองไม่ค่อยดีต่อยาระงับปวดทั่วไปต้องใช้เวลาสำหรับปรับยานาน แบ่งเป็น 2
กลุ่มคือ
|
|
2.1Primary shooting pain เจ็บเสียว หรือเหมือนไฟช๊อต (electrical,
shooting) เหมือนเข็มทิ่ม(pins
and needles) , ปวดแบบเจ็บเสียวแปลบร้าวตามเส้นประสาทมาเลี้ยง (radiating)
|
Anticonvulsant
carbamazepine, gabapentin,
phenytoin
|
2.2 Primary burning pain ปวดแบบแสบร้อนเหมือนถูกน้ำร้อนลวก(burning
pain)เสียวสะดุ้งเมื่อสัมผัส,อาการชา (paresthesia),
-ปวดเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้นที่ปกติไม่ทำให้เกิดความปวดเช่น
ปวดเมื่อสัมผัสกับเสื้อผ้าหรือลมพัด (Allodynia)
-ปวดมากกว่าปกติเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้นที่ปกติทำให้เกิดความปวดได้
เช่น ปวดมาก แค่โดนไม้จิ้มฟันแตะเบาๆ(Hyperalgesia)
|
Antidepressants
amitriptyline, nortriptyline,
doxepin,
desipramine
venlafaxine
|
1.
By the ladder : ตามหลัก WHO analgesic ladder(Jan
Stjernsward,1990):
ทั่วไปเริ่มจากใช้ยาในขั้นที่ 1 ก่อน ถ้าไม่ดีจึงเพิ่มเป็นขั้นที่ 2 และ 3 ตามลำดับ (ยกเว้นในรายที่ pain เยอะ อาจเริ่มใน ขั้น 2 หริอ3 เลย)
โดยขั้น 1 อาจให้ร่วมขั้น 2 หรือ 3 ได้เพื่อเสริมฤทธิ์กัน แต่จะไม่ให้ขั้น 2 กับ 3 ร่วมกัน
2.
By the mouth :ควรใช้ยากินก่อนยาฉีด
ควรเลือกยาออกฤทธิ์สั้น และเริ่มจากขนาดต่ำๆก่อน เพื่อป้องกัน respiratory
depression
3.
By the clockให้ยาให้ครอบคลุมช่วงที่ปวด คือ ถ้าเป็น persistent pain ให้ยาตามเวลา (regular/maintenance dose)ด้วย
4.
ให้ยาเผื่อปวด (breakthrough dose or rescue dose )ไว้เสมอ กรณีมี incidental pain ควรให้ยาลดปวดก่อนทำกิจกรรมนั้นๆเช่น ก่อนทำแผล ทำกายภาพ
Tip : ใน MO naïve(ไม่เคยได้รับยามาก่อน)อย่าให้ long acting opioid ก่อน
เพราะหากมีปัญหาจากยาจะคงอยู่นาน เมื่อปรับจนได้doseที่เหมาะสมใน
1-2 วัน ค่อยปรับเป็นlong acting เพื่อให้ใช้ยาได้ง่ายขึ้น
|
1.
ใช้ยา NSAIDs และ/หรือยาแก้ปวดกลุ่ม
opioids เป็นหลักถ้ายังไม่ได้ผลและไม่มีทางเลือกอื่น
อาจพิจารณา steroids เสริมขนาดที่จะให้
เช่น Dexamethasone 8 mg oral OD เช้า (ให้มื้อเช้า เพราะลดผลข้างเคียง insomnia,
หากหลังให้ยา 2-3 วัน ไม่ตอบสนอง
ให้หยุดยา แต่ถ้าลดปวดได้ ให้ลดยาเป็น 2
mg/สัปดาห์ เป็น maintenance dose)
2.
ถ้าปวดเฉพาะที่เพียงจุดเดียวหรือ 2-3 จุด ให้พิจารณาใช้รังสีรักษาเฉพาะที่
หรือฉีดยาชาเฉพาะที่ การทำ nerve blocks มีประโยชน์ในผู้ป่วยที่มีความปวดกระดูกซี่โครง
3.
ความปวดกระดูกทั่วๆไปหลายแห่ง
พิจารณาให้การรักษาดังนี้
3.1 ยา
bisphosphonates ในผู้ป่วย multiple myeloma และมะเร็งที่แพร่กระจายไปยังกระดูก
3.2 ยากลุ่ม
systemic anticancer ในมะเร็งบางชนิดที่แพร่กระจายมายังกระดูก
3.3 Calcitonin ช่วยลดความปวดในผู้ป่วยมะเร็งที่แพร่กระจายไปกระดูก
3.4 รังสีรักษา
3.5 การรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพและการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของกระดูก
4.
ในรายที่ความปวดยังรุนแรงหรือไม่ลดน้อยลงให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญต่อไปหลักก
-
opioidsได้ผลน้อยหรือแทบไม่ได้ผลจึงไม่ควรเพิ่มขนาด
opioidsโดยไม่จำเป็นเพื่อลดปวดจาก neuropathic painที่รุนแรงหรือตอบสนองต่อการรักษาไม่ดี
-
เริ่ม dose น้อยๆและเพิ่มขนาดขึ้นทุก 3-5วันเมื่อผู้ป่วยปรับตัวได้ง่วงน้อยลง
|
Primary shooting pain
|
Primary burning pain
|
ยาที่ใช้
|
Anticonvulsantsเริ่มจากขนาดน้อยๆ และเพิ่มขนาดขึ้นทุก 3-5วัน เมื่อผู้ป่วยปรับตัวได้
ง่วงน้อยลง onset< 1 wk
Gabapentin
300-3600 mg
PO
Phenytoin
300-500 mg PO
Carbamazepine 200-1600 mg PO
Clonazepam 1-8 mg PO
|
Antidepressants onset> 2-3 wk
ได้ผลดีแม้ dose ต่ำแต่ละตัวมีประสิทธิภาพในการระงับปวดไม่ต่างกันเริ่มจากขนาดน้อยๆ
และเพิ่มขนาดขึ้นทุก 3-5 วัน เมื่อผู้ป่วยเริ่มปรับตัวได้
Amitriptyline
10-150 mg PO
Nortriptyline
10-100 mg PO
Imipramine
20-100 mg PO
Trazadone
50-225 mg PO
|
-
Topical agents อาจพิจารณาใช้ยาทาลดปวดเฉพาะที่
(topical agents) บางชนิดเช่น
ยาชาเฉพาะที่ชนิดทาภายนอก
(lidocaine jelly / cream / EMLA) และ capsaicin cream (เจลพริก)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น